Latest topics
» 4 คุณสมบัติการสมัครงาน ที่อาจเป็นกับดัก ล่อให้เราตกหลุมพรางby max17 Tue Feb 27, 2018 10:53 am
» แจกชีท และสรุปหน้าราม ของคณะสื่อสารมวลชนค่ะ
by peachyz Sun Nov 19, 2017 12:54 pm
» หนังสือเสียง 10131 สังคมมนุษย์ มสธ.
by worapolh Thu May 11, 2017 3:33 pm
» หนังสือเสียง PY332 PY235 PY331 PY234 PY225 PY103
by worapolh Thu May 11, 2017 3:33 pm
» หนังสือเสียง HI368 ประวัติศาสตร์จักรวรรดิจีน
by worapolh Thu May 11, 2017 3:30 pm
» หนังสือเสียงตำราเรียนวิชา PY225 ปรัชญาจีน
by worapolh Thu Apr 06, 2017 7:42 pm
» หนังสือเสียงตำราเรียนวิชา PY234
by worapolh Thu Apr 06, 2017 7:41 pm
» หนังสือเสียงตำราเรียนวิชา PY103
by worapolh Thu Apr 06, 2017 6:37 pm
» หนังสือเสียงรามฟรีครับ HI330
by worapolh Wed Mar 29, 2017 5:53 pm
» มีหนังสือและชี๊ทขายครับตามที่อาจารย์สอนและแถมมีจดคำถามข้อสอบหรือคำตอบข้อสอบด้วยครับ
by tonpongsuwat Tue Jan 24, 2017 2:48 pm
» เราสามารถลงวิชาโท ของคณะอื่นได้ไหมครับ
by dentatus Sun Nov 06, 2016 1:13 pm
» แนวข้อสอบ ENS3401
by tonaorza97 Mon Oct 31, 2016 7:05 pm
» แนวข้อสอบ ENS3401
by tonaorza97 Mon Oct 31, 2016 7:04 pm
» สอบถามการเรียนวิชาเอกภาษาจีนที่ราม
by kendo89 Sun Oct 30, 2016 8:04 pm
» ขายหนังสือคณะประวัติศาสตร์
by tonpongsuwat Fri Sep 23, 2016 9:54 pm
» ขายหนงสือคณะปรัชญา
by tonpongsuwat Fri Sep 23, 2016 9:54 pm
ลิ้งค์สำคัญของมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
คณะมนุษยศาสตร์
RUTV
สวป.
สารสนเทศนักศึกษาส่วนกลาง
มีคำถาม มีคำตอบ
จัดหางานฝึกอาชีพRU300
ตำราเรียนอิเล็กทรอนิกส์
Cyber Class Room
Course On Demand
ปฏิทินการศึกษา
แนวสังเขปกระบวนวิชา
โครงสร้างหลักสูตร(52)
มร. 30
e-Testing
ตารางสอบรายบุคคล
ระบบตรวจสอบผลการเรียน
ENL 2001 อัพเดทล่าสุด!!!
4 posters
กระดานสนทนานักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง :: สาขาวิชาเอก (Major) :: ภาษาอังกฤษ (English)
หน้า 1 จาก 1
ENL 2001 อัพเดทล่าสุด!!!
บทที่ 7
1.ลักษณะประจำคำเป็นตัวกำหนดว่า.....1.)กริยาใดมีกรรมตรงและกรรมรองได้
2.)คำนามใดเป็นประธานของประโยคได้
3.)กริยานุเคราะห์ใดใช้กับนามใด
4.)นามกับกริยาใดเกิดร่วมกันไม่ได้
2.การเปลี่ยน...ให้เป็น...ด้วยกระบวนการปริวรรตเรียกว่า.....
1.)ประโยค,นามวลี+กริยาวลี,โครงสร้างส่วนประกอบ
2.)เอกรรถประโยค,สังกรประโยค,การแทนที่
3.)โครงรูปลึก,โครงรูปผิว,การปริวรรต
4.)โครงรูปผิว,โครงรูปลึก,การประชิด
3.ข้อใดไม่เป็นความจริง
1.)กฤตกรรมของเจ้าของภาษาจะไม่มีการบกพร่อง
2.)การเรียงคำไม่ว่าจะเป็นภาษาใดจะต้องมีกฏเกณฑ์เสมอ
3.)ไม่มีภาษาใดในโลกที่จะไม่มีกฏการเรียงคำในประโยค
4.)กฤตกรรมเป็นผลิตกรรมของคำพูด
4.ประโยคต่อไปนี้ "เป็น" เป็นสกรรมกริยาที่แสดงประสบการณ์
1.)เขาเป็นพี่ผม
2.)เงินเป็นล้าน
3.)หน้าเป็นมัน
4.)สมชายเป็นมวย
5.*คล้ายพ่อสิ *คล้ายครูนะ *เหลืองเสีย
1.)การเรียงคำย่อมเปลี่ยนแปลงได้ด้วยการปริวรรต
2.)ประโยคนี้ไม่ใช่ภาษาไทย
3.)กริยาบางคำใช้เป็นคำสั่งไม่ได้
4.)กริยาบางคำเกิดร่วมได้กับประธานที่เป็นมนุษย์เท่านั้น
6.ส่วนนำหน้ากริยาที่รู้จักกันดีในไวยากรณ์โบราณ ก็คือ... อันได้แก่...
1.)วิเศษณกริยา ; น้อย แดง
2.)กริยานุเคราะห์ ; ควร น่า คง พอ จึง
3.)กริยารอง ; มา ไป ไว้
4.)กริยาวลี ; ตื๋อ แจ๋ ปี๋
***ดูตัวอย่างข้อ 10 หน้า 197 อาจารย์บอกว่าอาจจะดึงมาถามในข้อสอบได้ ***
แก้ไขล่าสุดโดย wutwoody009 เมื่อ Wed Aug 29, 2012 2:13 pm, ทั้งหมด 1 ครั้ง
wutwoody009- ผู้สังเกตการณ์
- จำนวนข้อความ : 41
Points : 62
น้ำใจงดงาม : 3
Join date : 17/06/2012
บทที่ 3 (ต่อ)
บทที่ 3
1.เชื่อกันว่า...เป็นตัวประสานงานระหว่างภาษาและกลไกเกี่ยวกับความรู้สึก1.)mid brain
2.)white matter
3.)spinal cord
4.)thalamus
2.ภาษาศาสตร์เชิงประสาท (Neurolinguistic)ศึกษาพื้นฐานทาง...ที่เกี่ยวกับภาษาและ...ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ภาษาและการใช้ภาษา
1.)สรีรวิทยา , กลไกของสมอง
2.)สรีรสัทศาสตร์ , บริเวณความจำ
3.)สัทศาสตร์ , กลไกธารลม
4.)ระบบประสาท,กายภาพ
3.คนไข้ที่ขาดความสามารถแสดงออกทางความคิดบริเวณ...เสียไป
1.)Wernicke
2.)Broca
3.)Exner
4.)Heschl
4.การรับเสียงดนตรีเป็นหน้าที่ของ...การรับเสียงวรรณยุกต์มีส่วนสัมพันธ์กับ...
1.)กลีบขมับ,กลีบท้ายทอย
2.)สมองซีกซ้าย , สมองซีกขวา
3.)ใยประสาทเชื่อมสมอง,ใยประสาทโยง
4.)สมองซีกขวา,สมองซีกซ้าย
5.Word-deafness หรือภาวะหนวกคำพูด มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า...
1.)Expressive aphasia
2.)Active aphasia
3.)Auditory aphasia
4.)Visual aphasia
6.เนื้อสีเทา (grey matter) หมายถึง...
1.)ไขสันหลัง
2.)กลีบสมอง
3.)เนื้อเปลือกสมอง
4.)ระบบประสาทส่วนกลาง
wutwoody009- ผู้สังเกตการณ์
- จำนวนข้อความ : 41
Points : 62
น้ำใจงดงาม : 3
Join date : 17/06/2012
บทที่ 4 (ต่อ)
บทที่ 4
1.... ในภาษาไทยแสดงความแตกต่างระหว่างเพศชายกับเพศหญิง (ข้อนี้ไม่แน่ใจ เลยไม่เฉลย)1.)คำอุทาน
2.)ระบบศักดินา
3.)คำประติชญาวิเศษณ์
4.)ถูกทุกข้อ
2.คำในหมู่พวกที่มีอาชีพเดียวกัน ความสนใจอย่างเดียวกัน เรียกว่า..
1.)jargon
2.)slang
3.)eupheism
4.)taboo
3.คำว่า กระบอง ส้วม(ซ่วม) ในภาษากลางและภาษาอีสาน เป็นตัวอย่างของคำ..หมายถึง คำเดียวกันต่างความหมาย
1)ภาษาถิ่น
2.)คนอง
3.)คำไวพจน์ ---> น่าจะตอบข้อนี้
4.) ศัพท์เฉพาะ
4.ภาษาEsperanto ประดิษฐ์ตามความคิดของคนยุโรปดังนี้
1.)แปลว่าภาษาของโลก
2.)William Labov เป็นผู้ประดิษฐ์
3.)คนตะวันออกชื่นชอบว่าเรียบง่าย และเป็นภาษาที่มีศักดิ์ศรี
4.)พื้นฐานศัพท์และไวยากรณ์มาจากภาษาละตินและโรแมนซ์
5.เราคิดคำสุภาพขึ้นมาใช้แทน...ในภาษา
1.)ภาษาคนอง
2.)เกมภาษา
3.)คำต้องห้าม
4.)ปัจเจกภาษา
6.ข้อใดไม่ใช่ตัวอย่างแสดงลักษณะหลากหลายของภาษา
1.)ภาษาแม่
2.)คำต้องห้าม
3.)ภาษาประดิษฐ์
4.)ภาษาคนอง
wutwoody009- ผู้สังเกตการณ์
- จำนวนข้อความ : 41
Points : 62
น้ำใจงดงาม : 3
Join date : 17/06/2012
บทที่ 5 (ต่อ)
บทที่ 5
1.กิจกรรมใดของมนุษย์ที่ไม่เกี่ยวข้องกับกลไกธารลมจากปอดแบบลมเข้า (ไม่แน่ใจ)1.)หาว กรน สะอื้น
2.)เสียงเดาะปาก
3.)เสียงสูดปาก
4.)เสียงระเบิด
2.กรณ์ (Articulator) ได้แก่
1.)ปุ่มเหงือก เพดานอ่อน
2.)ปลายลิ้น ริมฝีปากล่าง
3.)ลิ้นไก่ ช่องคอหอย
4.)ปอด ลิ้นปิดเปิดกล่องเสียง
3.กล่มเสียงเสียดสีในภาษาอังกฤษ ได้แก่ข้อใด (หาคำตอบได้จาก EN203 บทที่ 5)
1.) [p,t,k]
2.) [r,l]
3.) [เตตาร์ วงรี ขีดนอนตรงกลาง ไม่มีฟอนต์นี้ โทดที ,g,z]
4.) [m,n, เสียงเงอะ ตัว n มีหาง ไม่มีฟอนต์นี้ โทดที]
ตัวเลือกข้อ 3 -4 เตตาร์ กับ n หางงอ คนเรียน EN203 จะรู้ว่าเปนไง ข้อ 4 เป็นเสียงนาสิก อยู่ในบทที่ 5 พยัญชนะอังกฤษแบบอเมริกัน ในหนังสือ EN203
4.IPA ได้คิดพัฒนา...ขึ้น โดยใช้ตัวอักษร...เป็นหลัก
1.) Basic English , Greek
2.) สัทอักษร , โรมัน
3.) สัทศาสตร์ , ภาษาแฮมเมอริค
4.) การสะกดตัวอักษร , ภาษาโรแมนซ์
5.ข้อใดไม่อยู่ในแวดวงของกลสัทศาสตร์
1.)ระดับเสียง
2.)ฐานและกรณ์
3.)คุณภาพของเสียง
4.)ความดัง
6....ศึกษาเสียงที่เกี่ยวกับการรับฟังอันเป็นหน้าที่ของหู
1.)สรีรสัทศาสตร์
2.)กลสัทศาสตร์
3.)ภาษาศาสตร์สังคม
4.)สุตตสัทศาสตร์
wutwoody009- ผู้สังเกตการณ์
- จำนวนข้อความ : 41
Points : 62
น้ำใจงดงาม : 3
Join date : 17/06/2012
บทที่ 6 (ต่อ)
บทที่ 6
1....และ...เป็นประเภทของคำซึ่งมีลักษณะสากลทางภาษา1.)กริยา , คุณศัพท์
2.)วิเศษณ์,สันธาน
3.)นาม,กริยา
4.)นาม,สรรพนาม
2.หน่วยคำพันธะ หมายถึง
1.)หน่วยคำที่ต้องเกาะส่วนอื่น
2.)คำที่ใช้ในเชิงไวยากรณ์
3.)คำที่มีความหมายเป็นอิสระ
4.)ถูกทุกข้อ
3.คำใดไม่ใช่คำปิดในภาษาอังกฤษ
1.) a, an ,the
2.) ant ,kite
3.) these , that , those
4.) or, and ,on
4.สระบรรสาน (vowel harmony)
1.)ไม่ออกเสียงพยัญชนะบางเสียงในคำ
2.)หมายถึงการเปลี่ยนเสียงสระ
3.)เป็นการทำให้เสียงที่คล้ายกันต่างกันเสีย
4.)เป็นการกลมกลืนเสียงอย่างหนึ่ง
5.อย่างไรที่เรียกว่ารู้ลักษณะทางวจีวิภาค (ไม่แน่ใจ)
1.)รู้ว่าคำประกอบด้วยส่วนอะไรบ้าง
2.)รู้ลักษณะทางวากยสัมพันธ์
3.)รู้ลักษณะการใช้
4.) ถูกทุกข้อ
เนื่องจากบทที่ 6 อาจารย์ยังสอนไม่จบ (ก่อนสอบซ่อม) และการบรรยายครั้งที่ 8(หลังสอบซ่อม) อาจารย์เริ่มสอนบทที่ 7 เลย ขอให้เพื่อนๆไปอ่านเพิ่มเติมในหนังสือ เพราะอาจจะมีข้อสอบในส่วนที่อาจารย์ไม่ได้พูดถึง
wutwoody009- ผู้สังเกตการณ์
- จำนวนข้อความ : 41
Points : 62
น้ำใจงดงาม : 3
Join date : 17/06/2012
Re: ENL 2001 อัพเดทล่าสุด!!!
ขอบคุณมากนะคะ น่ารักที่สุด
whoareuu- ผู้สังเกตการณ์
- จำนวนข้อความ : 17
Points : 19
น้ำใจงดงาม : 0
Join date : 20/02/2012
Re: ENL 2001 อัพเดทล่าสุด!!!
บทที่ 9
1.สิ่งที่จะช่วยให้เด็กเรียนภาษาได้เร็วคือ
1.)กรรมพันธุ์
2.) ความพร้อมทางสมอง
3.)ภาษารอบล้อมตัวเด็ก
4.)ข้อ 2 และ 3
2.ในขั้นออกเสียงอ้อแอ้ เสียงวรรณยุกต์โทของเด็กไทยจะเกิดกับสระที่ออกเสียง...และ...
1.)สั้น, ค่อย
2.) ยาว,ค่อย
3.)ดัง,สั้น
4.)ดัง,ยาว
3.การใช้ลักษณนามแบบผู้ใหญ่ของเด็กเริ่มขึ้นเมื่ออายุ
1.) 1- 1ปีครึ่ง
2.) 1ปีครึ่ง - 2 ปี
3.) 2 - 4 ปีครึ่ง
4.) 4 ปีครึ่ง - 5 ปี
4.การรับรู้ภาษา...การเลียนแบบ เพราะแต่ละคน...
1.) ก็คือ , ใช้ประโยคที่เคยได้ยินมาก่อน
2.) มิใช่ , สร้างประโยคใหม่ๆได้
3.) คล้ายๆกับ, ว่าตามประโยคที่ผู้ใหญ่พูด
4.) มิใช่, ใช้ประโยคที่ดัดแปลงมาจากประโยคที่ได้ยิน
5.เด็กจะออกเสียง /t/ ได้...เสียง /s/
1.) ก่อน
2.) หลัง
3.) พร้อม
4.) บางทีก็ก่อน บางทีก็หลัง
บทที่ 10
1.กรุงเทพฯสร้างขึ้นเมื่อ พศ.2325 แสดง
1.) ภาษกริยา
2.) ปฏิภาษกริยา
3.) สัทกริยา
4.) ประพจนกริยา
2.ประโยคใดที่ตรง แต่ไม่หมายอย่างที่พูด
1.) กี่โมงแล้ว
2.) เข้ามาได้
3.) อาหารอย่างนี้หมายังไม่แลเลย
4.) หิวจังเลย
3."ถ้าไม่อยากเจ็บตัว อย่าเอะอะ" แสดง
1.) มูลบท
2.) ลักษณะบ่งบอกเป็นนัย
3.) การเปรียบเทียบ
4.) การอนุมาน
4."ถ้าเธอไม่ดูหนังสือ เธอก็จะสอบตก" แสดง
1.) มูลบท
2.) ข้อสนเทศ
3.) ลักษณะบ่งบอกเป็นนัย
4.) การอนุมาน
5."ผมพบคนมาก็มาก ไม่เคยพบใครใจเมตตากรุณาต่อผมเช่นคุณ"
1.) ภาษกริยา
2.) ปฏิภาษกริยา
3.) สัทกริยา
4.) ประพจนกริยา
6.การสัญญาจะต้องเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือเรื่องใน...และผู้พูดจะเป็น...ด้วยตนเอง
1.) อดีต, ผู้กระทำการ
2.) อนาคต , ผู้กระทำการ
3.) ปัจจุบัน, ผู้กระทำการ
4.) อนาคต, ผู้รับการกระทำ
7.การสัญญาจะต้องจัดอยู่ในเงื่อนไขของ
1.) สารัตถะสำคัญ , เวลา , การจัดเตรียม
2.) สารัตถะสำคัญ , ความจริงใจ , เวลา
3.) สารัตถะสำคัญ , ความจริงใจ , การจัดเตรียม
4.) สารัตถะสำคัญ , ความเป็นอนาคต , ความจริงใจ
บทที่ 11
1.ข้อใดมิใช่ทฤษฎีความหมายที่ปรากฎในตำรา LI200
1.) ทฤษฎีความหมายอันเนื่องมาจากการอ้างอิง
2.) ทฤษฎีความหมายอันเนื่องมาจากจิตภาพ
3.) ทฤษฎีความหมายอันเนื่องมาจากการสรุป
4.) ทฤษฎีความหมายอันเนื่องมาจากการใช้
2.ข้อใดที่ไม่ตรงกับความเชื่อตามทฤษฎีที่ว่า "ถ้านิพจน์มีความหมายจะต้องมีสิ่งที่อ้างอิง"
1.) เรือ
2.) พระอาทิตย์
3.) สูง
4.) ครับผม
3.สวัสดี อันเป็นคำทักทาย อธิบายได้ดีด้วยทฤษฎีความหมายเนื่องมาจาก
1.) การอ้างอิง
2.) การใช้
3.) จิตภาพ
4.) การบรรยาย
4.ความกำกวมมี 2 แบบ คือ ....และ.....
1.) กำกวมคำ , กำกวมรูป
2.) กำกวมความ , กำกวมรูป
3.) กำกวมคำ , กำกวมโครงสร้าง
4.) กำกวมความ , กำกวมโครงสร้าง
5.สวยงาม เยือกเย็น แข้งขา แสดงลักษณะ
1.) การพ้องความ
2.) การซ้อนคำ
3.) การเกยความ
4.) การคลุมความ
6.ข้อใดแสดงการพ้องเสียง
1.) กัน , กับ
2.) เท้า , ตีน
3.) กำ , กรรม
4.) เกา, กาว
บทที่ 12
1.ตัวอย่างทื่แสดงว่าความคิดกำหนดภาษา ปรากฏใน
1.) เข็มนาฬิกา
2.) กันชน
3.) ปากกา
4.) กระโปรงรถ
2.ภาษาใดก็ตามมีคำใช้สำหรับ 3 สี สีที่ 3 คือ
1.) เขียว
2.) น้ำเงิน
3.) แดง
4.) เหลือง
3.ข้อความใดซึ่งผู้ที่มาจากวัฒนธรรมที่ใช้ภาษาอังกฤษอาจจะงงว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร
1.) กำลังจะเจออยู่แล้วเชียว
2.) เขาไม่รุ้จักรับผิดชอบตนเองเลย
3.) เธอหาเจ้าบ่าวผู้ชายไม่ได้
4.) พ่อสะดุดขาตัวเองล้มลง
4.ภาษากำหนดความคิดเป็นสมมุติฐานของ Sapir - Whorf
5.การลำดับญาติคนไทยเน้น...อังกฤษเน้น... (ตัวเลือกมี เพศ /อาวุโส กับ อาวุโส / เพศ)
6.Eskimo มีคำว่าหิมะถึง 4 คำ เพราะชีวิต ..เกี่ยวข้องกับ..หิมะ แต่คนไทยมีคำว่า ..หิมะ..เพียงคำเดียวและก้มิใช่คำไทยแท้ด้วย
บทที่ 13
1.ตัวอักษร..ฝักขาม..ใช้จดบันทึกเรื่องราวทางพระพุทธศาสนาและนิทานชาดกด้วย
2. ตย.การเขียนภาพแกะสลักมี 3 ชนิด จำ !!เพราะคำถามถามว่าข้อใดไม่ใช่
มี ตัวเขียนภาพแบบฮิตไตต์ แบบอียิปต์ และแบบครีตัน
3.ชื่อตัวอักษร alpha, beta , gamma กรีกยืมมาจาก ภาษาฟินิเชียนและฮีบรู
4.ปราชญ์ทั้งหลายต่างเห็นพ้องต้องกันว่า..ตัวเขียน.. เกิดขึ้นทีหลังภาษาพูด
5.ตัวหนังสือจีนเป็น.. ตัวเขียน.. แบบเดียวเท่านั้นที่คนจีนซึ่งพูดกันคนละ..ภาษาถิ่น..แต่ก้อ่านเข้าใจความหมาย..ตรงกันได้..
6.ระบบตัวเขียนญี่ปุ่นมี 2 ระบบคือ KataKana กับ Hiragana
***ข้อสอบเป็นปรนัย 120 ข้อ แบ่งเป็นถูกผิด 20 ข้อ กับเลือกตอบ 100 ข้อ ออกสอบทุกบท ยกเว้นบทที่ 8 (ไม่เรียน + ไม่ออกสอบ)
บทที่ 5,13 ออกสอบ 10 กว่าข้อ อาจารย์ให้ไปอ่านเองอย่างละเอียด สอนไม่จบ บทอื่นๆ ออกบทละ 5-6 ข้อ
1.สิ่งที่จะช่วยให้เด็กเรียนภาษาได้เร็วคือ
1.)กรรมพันธุ์
2.) ความพร้อมทางสมอง
3.)ภาษารอบล้อมตัวเด็ก
4.)ข้อ 2 และ 3
2.ในขั้นออกเสียงอ้อแอ้ เสียงวรรณยุกต์โทของเด็กไทยจะเกิดกับสระที่ออกเสียง...และ...
1.)สั้น, ค่อย
2.) ยาว,ค่อย
3.)ดัง,สั้น
4.)ดัง,ยาว
3.การใช้ลักษณนามแบบผู้ใหญ่ของเด็กเริ่มขึ้นเมื่ออายุ
1.) 1- 1ปีครึ่ง
2.) 1ปีครึ่ง - 2 ปี
3.) 2 - 4 ปีครึ่ง
4.) 4 ปีครึ่ง - 5 ปี
4.การรับรู้ภาษา...การเลียนแบบ เพราะแต่ละคน...
1.) ก็คือ , ใช้ประโยคที่เคยได้ยินมาก่อน
2.) มิใช่ , สร้างประโยคใหม่ๆได้
3.) คล้ายๆกับ, ว่าตามประโยคที่ผู้ใหญ่พูด
4.) มิใช่, ใช้ประโยคที่ดัดแปลงมาจากประโยคที่ได้ยิน
5.เด็กจะออกเสียง /t/ ได้...เสียง /s/
1.) ก่อน
2.) หลัง
3.) พร้อม
4.) บางทีก็ก่อน บางทีก็หลัง
บทที่ 10
1.กรุงเทพฯสร้างขึ้นเมื่อ พศ.2325 แสดง
1.) ภาษกริยา
2.) ปฏิภาษกริยา
3.) สัทกริยา
4.) ประพจนกริยา
2.ประโยคใดที่ตรง แต่ไม่หมายอย่างที่พูด
1.) กี่โมงแล้ว
2.) เข้ามาได้
3.) อาหารอย่างนี้หมายังไม่แลเลย
4.) หิวจังเลย
3."ถ้าไม่อยากเจ็บตัว อย่าเอะอะ" แสดง
1.) มูลบท
2.) ลักษณะบ่งบอกเป็นนัย
3.) การเปรียบเทียบ
4.) การอนุมาน
4."ถ้าเธอไม่ดูหนังสือ เธอก็จะสอบตก" แสดง
1.) มูลบท
2.) ข้อสนเทศ
3.) ลักษณะบ่งบอกเป็นนัย
4.) การอนุมาน
5."ผมพบคนมาก็มาก ไม่เคยพบใครใจเมตตากรุณาต่อผมเช่นคุณ"
1.) ภาษกริยา
2.) ปฏิภาษกริยา
3.) สัทกริยา
4.) ประพจนกริยา
6.การสัญญาจะต้องเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือเรื่องใน...และผู้พูดจะเป็น...ด้วยตนเอง
1.) อดีต, ผู้กระทำการ
2.) อนาคต , ผู้กระทำการ
3.) ปัจจุบัน, ผู้กระทำการ
4.) อนาคต, ผู้รับการกระทำ
7.การสัญญาจะต้องจัดอยู่ในเงื่อนไขของ
1.) สารัตถะสำคัญ , เวลา , การจัดเตรียม
2.) สารัตถะสำคัญ , ความจริงใจ , เวลา
3.) สารัตถะสำคัญ , ความจริงใจ , การจัดเตรียม
4.) สารัตถะสำคัญ , ความเป็นอนาคต , ความจริงใจ
บทที่ 11
1.ข้อใดมิใช่ทฤษฎีความหมายที่ปรากฎในตำรา LI200
1.) ทฤษฎีความหมายอันเนื่องมาจากการอ้างอิง
2.) ทฤษฎีความหมายอันเนื่องมาจากจิตภาพ
3.) ทฤษฎีความหมายอันเนื่องมาจากการสรุป
4.) ทฤษฎีความหมายอันเนื่องมาจากการใช้
2.ข้อใดที่ไม่ตรงกับความเชื่อตามทฤษฎีที่ว่า "ถ้านิพจน์มีความหมายจะต้องมีสิ่งที่อ้างอิง"
1.) เรือ
2.) พระอาทิตย์
3.) สูง
4.) ครับผม
3.สวัสดี อันเป็นคำทักทาย อธิบายได้ดีด้วยทฤษฎีความหมายเนื่องมาจาก
1.) การอ้างอิง
2.) การใช้
3.) จิตภาพ
4.) การบรรยาย
4.ความกำกวมมี 2 แบบ คือ ....และ.....
1.) กำกวมคำ , กำกวมรูป
2.) กำกวมความ , กำกวมรูป
3.) กำกวมคำ , กำกวมโครงสร้าง
4.) กำกวมความ , กำกวมโครงสร้าง
5.สวยงาม เยือกเย็น แข้งขา แสดงลักษณะ
1.) การพ้องความ
2.) การซ้อนคำ
3.) การเกยความ
4.) การคลุมความ
6.ข้อใดแสดงการพ้องเสียง
1.) กัน , กับ
2.) เท้า , ตีน
3.) กำ , กรรม
4.) เกา, กาว
บทที่ 12
1.ตัวอย่างทื่แสดงว่าความคิดกำหนดภาษา ปรากฏใน
1.) เข็มนาฬิกา
2.) กันชน
3.) ปากกา
4.) กระโปรงรถ
2.ภาษาใดก็ตามมีคำใช้สำหรับ 3 สี สีที่ 3 คือ
1.) เขียว
2.) น้ำเงิน
3.) แดง
4.) เหลือง
3.ข้อความใดซึ่งผู้ที่มาจากวัฒนธรรมที่ใช้ภาษาอังกฤษอาจจะงงว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร
1.) กำลังจะเจออยู่แล้วเชียว
2.) เขาไม่รุ้จักรับผิดชอบตนเองเลย
3.) เธอหาเจ้าบ่าวผู้ชายไม่ได้
4.) พ่อสะดุดขาตัวเองล้มลง
4.ภาษากำหนดความคิดเป็นสมมุติฐานของ Sapir - Whorf
5.การลำดับญาติคนไทยเน้น...อังกฤษเน้น... (ตัวเลือกมี เพศ /อาวุโส กับ อาวุโส / เพศ)
6.Eskimo มีคำว่าหิมะถึง 4 คำ เพราะชีวิต ..เกี่ยวข้องกับ..หิมะ แต่คนไทยมีคำว่า ..หิมะ..เพียงคำเดียวและก้มิใช่คำไทยแท้ด้วย
บทที่ 13
1.ตัวอักษร..ฝักขาม..ใช้จดบันทึกเรื่องราวทางพระพุทธศาสนาและนิทานชาดกด้วย
2. ตย.การเขียนภาพแกะสลักมี 3 ชนิด จำ !!เพราะคำถามถามว่าข้อใดไม่ใช่
มี ตัวเขียนภาพแบบฮิตไตต์ แบบอียิปต์ และแบบครีตัน
3.ชื่อตัวอักษร alpha, beta , gamma กรีกยืมมาจาก ภาษาฟินิเชียนและฮีบรู
4.ปราชญ์ทั้งหลายต่างเห็นพ้องต้องกันว่า..ตัวเขียน.. เกิดขึ้นทีหลังภาษาพูด
5.ตัวหนังสือจีนเป็น.. ตัวเขียน.. แบบเดียวเท่านั้นที่คนจีนซึ่งพูดกันคนละ..ภาษาถิ่น..แต่ก้อ่านเข้าใจความหมาย..ตรงกันได้..
6.ระบบตัวเขียนญี่ปุ่นมี 2 ระบบคือ KataKana กับ Hiragana
***ข้อสอบเป็นปรนัย 120 ข้อ แบ่งเป็นถูกผิด 20 ข้อ กับเลือกตอบ 100 ข้อ ออกสอบทุกบท ยกเว้นบทที่ 8 (ไม่เรียน + ไม่ออกสอบ)
บทที่ 5,13 ออกสอบ 10 กว่าข้อ อาจารย์ให้ไปอ่านเองอย่างละเอียด สอนไม่จบ บทอื่นๆ ออกบทละ 5-6 ข้อ
wutwoody009- ผู้สังเกตการณ์
- จำนวนข้อความ : 41
Points : 62
น้ำใจงดงาม : 3
Join date : 17/06/2012
Re: ENL 2001 อัพเดทล่าสุด!!!
บทที่ 12
ข้อ 1 ตอบ 2กันชน
ข้อ 2 ตอบ 3 สีแดง
ข้อ 3 ตอบ 1 กำลังจะเจออยุ่แล้วเชียว
ลืมเฉลย อิอิ
ข้อ 1 ตอบ 2กันชน
ข้อ 2 ตอบ 3 สีแดง
ข้อ 3 ตอบ 1 กำลังจะเจออยุ่แล้วเชียว
ลืมเฉลย อิอิ
wutwoody009- ผู้สังเกตการณ์
- จำนวนข้อความ : 41
Points : 62
น้ำใจงดงาม : 3
Join date : 17/06/2012
Re: ENL 2001 อัพเดทล่าสุด!!!
กำลังนั่งปวดหัวอยู่เลย ทำงานต่างจังหวัดไม่ได้มาเข้าคลาส ขอบคุณมากๆๆๆๆๆครับ
9songs- ผู้ร่วมแบ่งปันขั้นกลาง
- จำนวนข้อความ : 197
Points : 279
น้ำใจงดงาม : 56
Join date : 08/03/2012
ที่อยู่ : Bangkok
Re: ENL 2001 อัพเดทล่าสุด!!!
ขอบคุณค่ะ
lady_bow- ผู้สังเกตการณ์
- จำนวนข้อความ : 1
Points : 1
น้ำใจงดงาม : 0
Join date : 12/10/2012
Re: ENL 2001 อัพเดทล่าสุด!!!
ออกจากห้องสอบอย่างหมดสภาพ ทำกันได้ไหมครับ
9songs- ผู้ร่วมแบ่งปันขั้นกลาง
- จำนวนข้อความ : 197
Points : 279
น้ำใจงดงาม : 56
Join date : 08/03/2012
ที่อยู่ : Bangkok
Similar topics
» CRT 1003 , CRT 2001 , TOM 3291 เพื่อน ๆ เคยลง 3 วิชานี้บ้างมั๊ยคะ ช่วยแนะนำด้วยค่ะ
» ใครมีแนวข้อสอบ หรือ ชีทเฉลย ENG 2601(230) ENL 2001(LI 200) มั้ยคะ
» ใครมีแนวข้อสอบ หรือ ชีทเฉลย ENG 2601(230) ENL 2001(LI 200) มั้ยคะ
กระดานสนทนานักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง :: สาขาวิชาเอก (Major) :: ภาษาอังกฤษ (English)
หน้า 1 จาก 1
Permissions in this forum:
คุณไม่สามารถพิมพ์ตอบ